• Welcome to รอบรั้วมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
 

ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีกี่แบบ

เริ่มโดย ruataewada, ต.ค 02, 2023, 09:16 ก่อนเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

ruataewada

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป "SmartLands" หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู "บอกดิน" และกดปุ่ม "แจ้งตำแหน่งที่ดิน"
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก "อื่นๆ" และกดปุ่ม "ส่ง"
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน "SmartLands"
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada


เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ...

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก "สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม" หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป "SmartLands" หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู "บอกดิน" และกดปุ่ม "แจ้งตำแหน่งที่ดิน"
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก "อื่นๆ" และกดปุ่ม "ส่ง"
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน "SmartLands"
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada

ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ruataewada

**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**

สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

ruataewada


**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ruataewada

เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ...

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก "สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม" หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป "SmartLands" หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู "บอกดิน" และกดปุ่ม "แจ้งตำแหน่งที่ดิน"
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก "อื่นๆ" และกดปุ่ม "ส่ง"
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน "SmartLands"
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada

ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ruataewada

**ปลูกพืชในน้ำ ง่าย สะดวก ปลอดสารพิษ**

การปลูกพืชในน้ำเป็นเทคนิคการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน โดยนำรากของพืชมาแช่อยู่ในน้ำที่ผสมสารละลายอาหารพืช การปลูกพืชในน้ำมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **ประหยัดพื้นที่** การปลูกพืชในน้ำไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่มาก สามารถปลูกได้ในพื้นที่จำกัด เช่น บนระเบียง บนโต๊ะ หรือแม้แต่ในห้องน้ำ
* **สะดวกในการดูแลรักษา** ไม่จำเป็นต้องพรวนดินหรือกำจัดวัชพืช เพียงแค่เติมน้ำและสารละลายอาหารพืชให้เพียงพอ
* **ปลอดสารพิษ** การปลูกพืชในน้ำไม่ใช้สารเคมีในการปลูก จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค

**วิธีการปลูกพืชในน้ำ**

การปลูกพืชในน้ำสามารถทำได้หลายวิธี ที่นิยมกัน ได้แก่

* **การปลูกพืชในแก้วน้ำ** เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด เพียงแค่นำต้นกล้าหรือเมล็ดพืชมาแช่ไว้ในแก้วน้ำที่ผสมสารละลายอาหารพืช
* **การปลูกพืชในกระถางไฮโดรโปนิกส์** เป็นวิธีที่สะดวกและสวยงาม กระถางไฮโดรโปนิกส์มีหลายรูปแบบให้เลือก วัสดุที่ใช้ปลูกพืชในกระถางไฮโดรโปนิกส์ ได้แก่ หินภูเขาไฟ หินกรวด หินโรย หรือวัสดุสังเคราะห์
* **การปลูกพืชในระบบไฮโดรโปนิกส์** เป็นระบบการปลูกพืชในน้ำที่มีอุปกรณ์และการควบคุมที่ซับซ้อนกว่าการปลูกพืชในแก้วน้ำหรือกระถางไฮโดรโปนิกส์ ระบบไฮโดรโปนิกส์มีหลายประเภทให้เลือก ที่นิยมกัน ได้แก่ ระบบหยด ระบบน้ำวน ระบบน้ำนิ่ง เป็นต้น

**พืชที่ปลูกในน้ำได้**

พืชที่ปลูกในน้ำได้มีหลายชนิด ที่นิยมปลูก ได้แก่

* **ผักใบ** เช่น ผักกาดหอม ผักบุ้งจีน ผักชี ต้นหอม คะน้า เป็นต้น
* **ผักผลไม้** เช่น แตงกวา มะเขือเทศ มะเขือยาว เป็นต้น
* **ไม้ประดับ** เช่น เศรษฐีเรือนใน ว่านหางจระเข้ เฟิร์น เป็นต้น

**การดูแลรักษาพืชที่ปลูกในน้ำ**

การดูแลรักษาพืชที่ปลูกในน้ำมีดังนี้

* **เปลี่ยนน้ำ** ควรเปลี่ยนน้ำทุก 2-3 วัน หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน
* **เติมสารละลายอาหารพืช** ควรเติมสารละลายอาหารพืชตามคำแนะนำบนฉลาก
* **แสงแดด** พืชที่ปลูกในน้ำต้องการแสงแดดเพียงพอ ควรวางกระถางหรือแก้วน้ำปลูกพืชในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง

การปลูกพืชในน้ำเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่มีพื้นที่จำกัดหรือต้องการปลูกพืชปลอดสารพิษ การปลูกพืชในน้ำเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์มากมาย นอกจากจะทำให้เรามีพืชผักสด ๆ ไว้รับประทานแล้ว ยังทำให้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและการปลูกพืชอีกด้วย

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ruataewada

เกษตรกรต้องเช็ค! การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดิน 2567 กลุ่มไหนได้รับสิทธิ์บ้าง

เกษตรกรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 จำนวน 1,628,520 ราย ต้องรู้! เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ เป็นฉโนดที่ดินฯ ภายในระยะเวลา 2 ปี หากยังไม่ทราบถึงข้อกำหนด วันนี้ เราจะพาทุกท่านไปทำความรู้จักกับที่ดิน ส.ป.ก. และเงื่อนไขการเปลี่ยนเป็นฉโนดกันในบทความนี้ครับ...

ที่ดิน ส.ป.ก. คืออะไร?
ส.ป.ก. ย่อมาจาก "สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม" หมายถึง  ที่ดินของสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมให้ที่ดินแก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ดินทำกินเข้ามาทำประโยชน์ โดยทำการเกษตรในที่ดินนั้นๆ

ที่ดิน ส.ป.ก. หรือ ที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 คือ เอกสารแสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 โดยมีหลักว่า ที่ดินในเขตปฏิรูปนั้นใช้ทำเกษตรกรรมได้อย่างเดียวเท่านั้น ทำประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ และผู้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 จะต้องมีฐานะยากจน

ที่ดิน ส.ป.ก. ซื้อขายได้หรือไม่?
ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 ตามมาตรา 39 ระบุว่า ที่ดินที่บุคคลได้รับสิทธิโดยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจะทำการแบ่งแยก หรือโอนสิทธิในที่ดินนั้นไปยังผู้อื่นมิได้ เว้นแต่เป็นการตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรม หรือโอนไปยังสถาบันเกษตรกร หรือ ส.ป.ก. เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง หากมีการซื้อขายเปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก. กฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้กำหนดมาตรการหรือโทษตามกฎหมาย โดยผู้ขายต้องเสียสิทธิทำกินในที่ดินที่ได้รับอนุญาต ในขณะที่ผู้ซื้อก็ไม่อาจอ้างการซื้อขายเข้าครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก.ได้ นอกจากนั้นผู้ซื้อและผู้ขายอาจต้องรับโทษอาญาถึงจำคุกด้วย แต่หากมีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินแล้วก็จะสามารถทำได้โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติม

การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินคืออะไร?
เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2566 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา อนุญาตให้เปลี่ยนเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 ทั่วประเทศ 22 ล้านไร่ จำนวน 1,628,520 ราย โดยมีผู้มีสิทธิยื่นคำขอเปลี่ยนโฉนดเอกสารสิทธิรวม 2,205,561 ฉบับ โดยผู้มีสิทธิ์ได้รับการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน โดยการเปลี่ยนสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) ขึ้นเป็นโฉนดที่ดิน โดยมีวิธีและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในกระบวนการนั้น ๆ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยเกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

เกษตรกรกลุ่มใดได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน?
ผู้มีสิทธิได้รับการจัดการที่ดิน ส.ป.ก มี 3 ประเภท

เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
– ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
– จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
– เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

สถาบันเกษตรกร
– กลุ่มเกษตรกร
– สหกรณ์การเกษตร
– ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์

คุณสมบัติผู้ได้รับการจัดที่ดินซึ่งเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01 จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
มีสัญชาติไทย
บรรลุนิติภาวะ หรือเป็นหัวหน้าครอบครัว
ประพฤติดี ซื่อสัตย์สุจริต
ร่างกายสมบูรณ์ ขยันขันแข็ง
ไม่มีที่ดินหรือมีที่ดินเพียงเล็กน้อย ไม่เพียงพอ
ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก.
หลังจากการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดินสามารถซื้อขายได้หรืไม่?
การเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน จะยังไม่สามารถซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด

กรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด เกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน ส.ป.ก. (หรือเป็น ผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน ส.ป.ก.) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2567
เพื่อเปลี่ยนสิทธิ์ที่ดินจากสำนักงานที่ดินแห่งชาติ (ส.ป.ก.) เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ตามมติของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) หากมีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก. จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต่อไป หรือหากต้องการทำผ่านทางออนไลน์ท่านสามารถทำได้ตามขั้นตอน ดังนี้

ดาวน์โหลดแอป "SmartLands" หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู "บอกดิน" และกดปุ่ม "แจ้งตำแหน่งที่ดิน"
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก "อื่นๆ" และกดปุ่ม "ส่ง"
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน "SmartLands"
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้
สรุป
การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนดที่ดินเกิดขึ้นตามมติหรือมาตรการของคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (คปก.) เพื่อยกระดับสิทธิในที่ดินของเกษตรกรจากเอกสารสิทธิ์ที่ดิน 4-01 (ส.ป.ก.4-01) เป็นโฉนดที่ดิน ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีเงื่อนไขหลายประการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการในวันที่ 15 ธันวาคม 2566, การออกโฉนดที่ดินฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567, และเงื่อนไขในการซื้อขายที่ดินหลังจากการเปลี่ยนเป็นโฉนด โดยต้องรอถึงระยะเวลา 5 ปี และมีเงื่อนไขในการกู้ยืมหรือขายที่ดินกับธนาคารที่ดิน และมุ่งเน้นการปรับปรุงกฎหมายและอำนวยความสะดวกในกระบวนการ, และวางแผนที่จะแจกโฉนดฉบับแรกในวันที่ 15 มกราคม 2567 ให้กับเกษตรกรทั่วประเทศ และผู้ที่มีสิทธิได้รับการจัดที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเป็นเกษตรกรที่ถือครอง ส.ป.ก.4-01, มีคุณสมบัติทั่วไป, และปฏิบัติตามระเบียบของ ส.ป.ก. นั่นเอง

อ้างอิง https://vinemanfence.com/farmer-check-right-alro-to-title-deed/

ruataewada

ดูแลรักษาท่อน้ำ อย่างไรให้สะอาด ปลอดภัย ใช้งานได้ยาวนาน



ท่อน้ำเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของเรา ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำสะอาดมาให้เราใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการชำระล้างร่างกาย ประกอบอาหาร หรือใช้ในการอุปโภคบริโภคอื่นๆ ดังนั้นการดูแลรักษาท่อน้ำให้สะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนานจึงเป็นเรื่องสำคัญ

วิธีดูแลรักษาท่อน้ำ

ทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอ
การทำความสะอาดท่อน้ำอย่างสม่ำเสมอจะช่วยกำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน และตะกรันต่างๆ ที่อาจสะสมอยู่ในท่อน้ำ ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์

การทำความสะอาดท่อน้ำสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือจ้างช่างประปามาดำเนินการ โดยหากทำความสะอาดด้วยตนเองสามารถทำได้ดังนี้

ปิดวาล์วน้ำที่ปลายท่อ
ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกจากท่อ
ใช้น้ำยาล้างท่อหรือน้ำยาอื่นๆ ที่เหมาะสมฉีดล้างภายในท่อ
ใช้แปรงขัดทำความสะอาดบริเวณที่สกปรก
ล้างน้ำสะอาดอีกครั้ง
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ กลับเข้าที่
ตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ
ควรตรวจสอบท่อน้ำเป็นประจำ หากพบรอยรั่วหรือรอยแตกร้าวให้รีบซ่อมแซมโดยเร็ว เพราะหากปล่อยให้รั่วนานอาจทำให้ท่อน้ำแตกเสียหายและอาจก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา

เลือกใช้ท่อน้ำคุณภาพดี
การเลือกท่อน้ำคุณภาพดีจะช่วยให้ท่อน้ำมีอายุการใช้งานยาวนานและลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้

ข้อควรระวังในการทำความสะอาดท่อน้ำ

ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และหน้ากากอนามัย เพื่อป้องกันอันตรายจากการสัมผัสกับสารเคมีหรือสิ่งสกปรกต่างๆ
ไม่ควรใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์รุนแรงในการทำความสะอาดท่อน้ำ เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
หากพบปัญหาท่อน้ำตันหรือท่อน้ำรั่ว ควรปรึกษาช่างประปาที่มีความชำนาญ
ประโยชน์ของการดูแลรักษาท่อน้ำ

ช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน
ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ เช่น ท่อน้ำตัน น้ำไหลช้า หรือน้ำมีกลิ่นไม่พึงประสงค์
ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ
การดูแลรักษาท่อน้ำเป็นสิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะจะช่วยให้ท่อน้ำสะอาด ปลอดภัย และใช้งานได้ยาวนาน ช่วยลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับท่อน้ำ ช่วยให้น้ำประปาสะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม